บันทึกอนุทินครั้งที่ 6
วันพฤหัสบดีที่ 25สิงหาคม 2557
ชื่อกิจกรรม "กังหันกระดาษ"(paper mill)
อุปกรณ์ Equipment
1.กรรไกร Scissors
1.กรรไกร Scissors
2.กระดาษสี่เหลี่ยมผืนผ้า Rectangle Paper
3.คลิปหนีบกระดาษ Paperclip
วิธีทำ How to
1.ตัดกระดาษเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า
Cut a rectangle of paper
2.พับครึ่งกระดาษ
Paper folded in half
3.ตัดกระดาษจากปลายเข้าสู่ด้านในจนถึงครึ่ง
Cut the paper into the end of the half.
4.พับชายกระดาษฝังตรงข้ามแล้วเอาคลิปหนีบไว้
Fold the paper across the man then took the clip out.
5.ตกแต่งให้สวยงาม
Decorate
เด็กได้อะไรจากกิจกรรม
1.เด็กมีการคิดที่อิสระในการเล่น สร้างสรรค์การเล่นที่ว่าไม่ใช่แค่โยนแต่อาจขว้างหรือปาก็ได้
2.เด้กมีความคิดสร่ช้างสรรค์ในการตกแต่งใบพัด
3.เด็กได้ความรู้เรื่อง แรงต้านทาน Braking power แรงโน้มถ่วง Gravitation
4.เกิดความภูมิใจในผลงาน (ขั้นตอนการทำไม่ซับซ้อน)
5.เด้กได้ทดลองหาคำตอบด้วยตนเอง
6.เด็กได้ลงมือทำและตัดสินใจเองอย่างสนุกสนาน (วิธีการเรียนรู้)
บทความวิทยาศาสตร์ Science article
1.แสงสีกับชีวิตประจำวัน เราสามารถมองเห็นสีได้โดยอาศัยดวงอาทิตย์ซึ่งมีแสงสีขาว มีแม่สีอยู่3 แม่สี คือสีแดง สีนำเงิน สีเขียว ส่วนสีต่างๆที่เรามองเห็นนั้นเกิดจากแม่สีทั้ง3สี มาผสมกัน
2.เงามหัศจรรย์ต่อสมอง เงาเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับแสง การจัดประสบการณ์ให้เด็กเมื่อกลัวเงา จัดประสบการณ์ผ่านการเล่านิทาน ก็จะส่งผลให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อเงา และสนุกสนานในการเรียนรู้
3.สอนลูกเรื่องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เด็กได้เรียนรู้ถึงการพึ่งพาอาศัยกันของธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
4.การเรียนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย แบ่งการเรียนรู้เป็น 4หน่วย
หน่วยที่ 1 การสังเกตโลกรอบตัว
หน่วยที่ 2 การรับรู้ทางประสาทสัมผัสและการเรียนรู้
หน่วยที่ 3 รูปทรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
หน่วยที่ 4 การจัดหมวดหมู่และการจำแนกประเภท
5.การทดลองวิทยาศาสตร์ ฝึกการคิดรวบยอด การเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า เรียนรู้ด้วยตนเอง การลงมือทำ=วิธีการเรียนรู้
2.การยกตัวอย่างการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของเด็ก
3.ทักษะการคิดวิเคราะห์และร่วมสรุปผลงานที่ประดิษฐ์
ตนเอง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจทำกิจกรรม มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตอบคำถาม
เพื่อน เพื่อนๆตั้งใจทำกิจกรรมกังหันและช่วยกันหาคำตอบในสิ่งที่อาจารย์ถาม
อาจารย์ อาจารย์โดยให้เน้นให้นักศึกษาค้นหาคำตอบด้วยตนเองและจัดกิจกรรมประดิษฐืทำให้การเรียนการสอนไม่น่าเบื่อ
หน่วยที่ 1 การสังเกตโลกรอบตัว
หน่วยที่ 2 การรับรู้ทางประสาทสัมผัสและการเรียนรู้
หน่วยที่ 3 รูปทรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
หน่วยที่ 4 การจัดหมวดหมู่และการจำแนกประเภท
5.การทดลองวิทยาศาสตร์ ฝึกการคิดรวบยอด การเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า เรียนรู้ด้วยตนเอง การลงมือทำ=วิธีการเรียนรู้
เทคนิคการสอน
1.ทักษะการใช้คำถามปลายเปิด2.การยกตัวอย่างการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของเด็ก
3.ทักษะการคิดวิเคราะห์และร่วมสรุปผลงานที่ประดิษฐ์
การประเมินการเรียนการสอน
ตนเอง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจทำกิจกรรม มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตอบคำถาม
เพื่อน เพื่อนๆตั้งใจทำกิจกรรมกังหันและช่วยกันหาคำตอบในสิ่งที่อาจารย์ถาม
อาจารย์ อาจารย์โดยให้เน้นให้นักศึกษาค้นหาคำตอบด้วยตนเองและจัดกิจกรรมประดิษฐืทำให้การเรียนการสอนไม่น่าเบื่อ
แสง เป็นคลื่นชนิดหนึ่่งมีความยาวคลื่นสั้นมาก เคลื่อนที่ได้เร็ว 300,000 Km/s แสงเดินทางเป็นเส้นตรงไม่เปลี่ยนทิศทาง ถ้ารอบๆตัวเราไม่มีแสงสว่างเราจะมองไม่เฆ็นอะไรเลย
แสงส่องเข้ามาโดนวัตถุ ---แสงสะท้อนวัตถุเข้าตาของเรา---เราจึงสามารถมองเห็นวัตถุได้
*ตาของเราคือจอรับแสง
การหักเหของแสงคือ การเปลื่อนทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
เงา เป็นสิ่งที่คู่กับแสง เพราะเงาจะอยู่ตรงกันข้ามกับแสง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น